ปฏิภาณ เสนวงค์
ชีวานนท์ สนพรม
ธนบูรณ์ ชินสุทธิ์
วีระศักดิ์ นนภักดี
ส่งศักดิ์ โมคำ
โรงเรียนนิยมศิลป์อนุสรณ์
อำเภอ วิเชียรบุรี จังหวัด เพชรบูรณ์
สำนักงานพัฒนาการศึกษาเขต 40
คำนำ
รางงานเล่มนี้นี้จัดทำขันเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของวิชา is ชั้นมะยมศึกษาปี่ 5
เพื่อให้ได้ศึกษาหาความรู้ ในเรื่องกบ
และได้ศึกษาอย่างเข่าใจเพื่อเป็นประโยชน์กับการเรียน
ผู้จัดทำหวังว่า รายงานเล่นนี้จะเป็นปะโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักเรียน
นักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่อง นี้อยู่ หากมีข้อมูลใดผิดพลาดประการใด
ผู้จัดทำข้อน้อมรับไว้และขออภัย มานะที่นี้ด้วย
ขอบพระคุณ
คุณครูที่ปรึกษาวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง คุณทิพวรรณ เพชรกันหา และผู้ใหคำปรึกษาในการจัดรูปแบบการพิมพ์และบรรณานุกรม
คุณครูสุปราณี สุนทรสุริยวงศ์ ไว้ ณ ที่นี่
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ให้แก่ผู้อ่าน
ในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมหากรายงานเล่มนี้ขาดตกบกพร่องประการใด
คณะผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้
และใคร่จะได้รับการแนะนำจากท่านผู้รู้
คณะผู้จัดทำ
บทที่ 1
บทนำ
เรื่อง กบ
กบ (Rana rugulosa) เป็นสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ
ลำตัวค่อนข้างกลมรี มีขา 2 คู่ คู่หน้าสั้น คู่หลังยาว หัวมีส่วนกว้างมากกว่าความยาวจะงอยปากสั้นทู่จมูกตั้งอยู่บริเวณโค้งตอนปลายของจะงอยปาก
นัยน์ตาโต และมีหนังตาปิดเปิดได้ ปากกว้างมีฟันเป็นแผ่น ๆ อยู่บนกระดูกเพดาน
ตัวผู้มีถุงเสียงอยู่ใต้คางและจะมีขนาดเล็กกว่าตัวเมีย ขาคู่สั้นมีนิ้ว 4 นิ้ว
ปลายนิ้วเป็นตุ่มกลม ขาคู่หลังยาวมี 5 นิ้ว ระหว่างนิ้วมีหนังเป็นพังผืด
สีของลำตัวด้านหลังเป็นสีเขียวปนน้ำตาลมีจุดสีดำกระจายเป็นประอยู่ทั่วตัว
ตามธรรมชาติกบจะหากินอยู่ตามลำห้วย หนอง บึง และท้องนา กบจะกินปลา กุ้ง
แมลงและสัตว์ขนาดเล็กเป็นอาหาร
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษา วิถีชีวิตของกบ
2. เพื่อศึกษา วงจรชีวิตของกบ
3. เพื่อศึกษา สายพันธุ์ต่างๆของกบ
4. เพื่อศึกษา ระบบร่างกายและอวัยวะของกบ
5. เพื่อศึกษา ธุรกิจที่เกี่ยวกับกบ
สมมุติฐาน
1. อาศัยอยู่ใกล้ๆแถวริมน้ำหาอาหารที่เป็นแมลง
2. เมื่อปฏิสนธิกันแล้วจะว่างไข้ไว้ที่หนองน้ำ
และไข่ของมันจะเกิดเป็นลูกอ็อดและลูกอ็อดก็จะค่อยๆเจริญเติบโต
โดยการมีขางอกออกมาและจะโตเต็มเป็นกบและอาศัยอยู่บนบก
3. สายพันธุ์ของกบมีดังนี้ กบนา กบลูฟร็อก กบพื้นเมือง
4. กบมีส่วนที่ขาใหญ่และแข็งแรง เพื่อมีไว้สำหรับกระโดดและมีลิ้นที่ยาวและเหนียวเพื่อสำหรับจับแมลง
5. มีการเพาะพันธุ์และขยายพันธุ์กบเพื่อจำหน่ายเนื้อกบ
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. วีถีชีวิตและวงจรชีวิตของกบ
ระยะเวลาของวัฎจักรชีวิตของสัตว์แต่ละชนิดใช้เวลาตั้งแต่เกิดจนถึงวัยเจริญเติบโตแตกต่างกันเช่น
วัฏจักรของกบ
กบ มีการผสมพันธุ์ภายนอก
คือตัวเมียปล่อยไข่และตัวผู้ปล่อยอสุจิออกมาผสมกันภายในน้ำ
กบมีการเปลี่ยนแปลงจากไข่จนตัวเต็มวัยมี 4 ขั้นตอนคือ ไข่ลูกอ็อด ลูกกบ ตัวเต็ม
ขั้นที่ 1. กบตัวเมียจะว่างไข่ในน้ำ ไข่จะมีเมือกหุ้มอยู่
ทำให้ไข่ลอยอยู่บนผิวน้ำและป้องกันอันตรายจากสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร
ขั้นที่ 2.ไข่ที่ได้รับการผสมแล้วใช้เวลาประมาณ
12 วัน จะเจริญเปลี่ยนเป็นตัวอ่อนระยะที่ 1 เรียกว่าลูกอ็อดจากลูกอ็อดจะมี่การเปลี่ยนแปลงในระยะนี้ภายใน 1 เดือนกลายเป็นตัวอ่อนระยะที่2
โดยที่ขาหลังจะงอกออกมาก่อน
ขั้นที่ 3. จากตัวอ่อนระยะที่2 ใช้เวลาประมาณ1-2
เดือนจะมีขางอกออกมาครบ 4 ขาหรือทั่วไปเรียกว่า
ตัวอ่อนระยะที่ 3
ขั้นที่ 4. จากตัวอ่อนระยะที่
3 ใช้เวลาประมาณ 7 เดือน ส่วนหางก็จะหดสั่นและหายไปจะกลายเป็นตัวเต็มวัย
พร้อมจะออกดำรงชีวิตบนบก
2. สายพันธ์ต่างๆของกบ
กบในประเทศไทยนั้นมีกัน
34 ชนิด และในต่างประเทศอีกหลายชนิด
ซึ่งรวมกันแล้วมีไม่น้อยกว่า 100 ชนิด
กบบางชนิดมีขนาดใหญ่บางชนิดมีขนาดเล็กที่แตกต่างกันไปตามสายพันธุ์ เช่น
2.1 กบนา (Ranatigerinadaudin) เป็นกบค่อนข้างใหญ่ตัวที่โตเต็มที่ยาวประมาณ
5 นิ้ว ขนาดประมาณ กบ 4 ตัวต่อกิโลกรัม
2.2 กบบัว (RanarugulosaWiadman)เป็นกบขนาดกลางตัวที่โตเต็มที่ยาวประมาณ
5 นิ้ว ขนาดประมาณ 6 ตัวต่อกิโลกรัม
2.3 กบภูเขา หรือ กบเขียดแลว (
Ranabythiiboulenaer ) เป็นกบพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
ตัวที่โตเต็มที่ขนาดประมาณ 3 กิโลกรัม
ขึ้นไป ชาวบ้านเรียกกันอีกชื่อว่ากบคลอง พกมากในบริเวณแถบภาคเหนือและภาคใต้
2.4 กบบูลฟรอค( Ranacatesbeisana show ) เป็นกบที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเข้าใจว่าใหญ่ที่สุดในประเทศ USA โตเต็มที่มีน้ำหนักมากกว่า 1
กิโลกรัมขึ้นไปตัวที่โตเต็มที่จะมีความยาวประมาณ 8 นิ้ว
3. ระบบอวัยวะของกบ
3.1 ปาก ภายในโพรงปากจะมีประกอบไปด้วย ต้อมเมือก
สำหรับคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนนุ่ม
3.2 หลอดลมหายใจ ช่วยในการที่เคลื่อนที่อาหาร
เข้าสู้หลอดทางเดินอาหาร
3.3 หลอดอาหาร มีต่อมสร้างน้ำย่อยกระจ่ายอยู่
ทำหน้าที่ส่งอาหารเข้าสู่กระเพาะ
3.4 กระเพาะอาหาร
พนังของกระเพาะอาหารมีต่อมที่สร้างน้ำย่อยเหล่านี้เพื่อทำหน้าที่ย่อยอาหาร
3.5 ลำไส้เล็ก มีมีหน้าที่ดูดซึมสารอาหารเข้าสู่กระแสเดือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
3.6 ลำไส้ใหญ่ มีหน้าที่รับกากอาหาร
และขับออกจากร่างกายทางช่องถ่ายรวม
4. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับกบ
ธุรกิจหรืออาชีพที่เกี่ยวกับกบมีหลากหลาย
เช่นการเลี้ยงกบเพื่อส่งออกเป็นอาชีพหรือธุรกิจ เพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
หรือเป็นอาชีพหรือธุรกิจเสริม หรือ นำกบมาประกอบอาหาร หรือ เมนู ในร้านอาหารก็ได้
ยกตัวอย่าง การเลี้ยงกบคอนโด หรือ การเลี้ยงกบใน ยางรถยนต์นั้นเอง
1. การเลี้ยงกบคอนโด นับว่าเป็นช่องทางทำกินอีกช่องทางหนึ่ง
ทีสามารถสร้างรายได้ให้กับเกษตรชาวบ้านได้เป็นอย่างดี
กบคอนโดมีมูลค่าทางด้านเศรษฐกิจไม่น้อยกว่าการเลี้ยงสัตว์ประเภทอื่นเลย อย่างเช่น
ปลา ผู้ที่มีอาชีพการเกษตรบางท่านอาจจะยังไม่รู้ หรือบุคลทั่วไป
แม้แต่ชาวบ้านเราเองวันนี้ โอ้โห MakeMoneY ได้เอาวิธีการเลี้ยงกบคอนโดมาแนะนำให้ได้รู้จักกัน
และไม่จำเป็นจะต้องเป็นชาวเกษตรเท่านั้น ที่จะเลี้ยงกบนี้ได้ แต่บุคลทั่วไป
ชาวบ้านหาเช้ากินค่ำก็สามารถทำอาชีพนี้ได้ง่าย ๆ สบาย ๆ
พื้นที่ใช้ในการเลี้ยงกบก็ไม่มาก สะดวกไม่ต้องขุดสระ สามารถเลี้ยงในบริเวณรอบ
ๆบ้านได้เลย นับว่าเป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้กับคุณเป็นอย่างดี ขั้นตอนแรก
เรามาดูกันเลยว่าจะต้องเตรียมตัวกันอย่างไรบ้าง
วิธีการเลี้ยงกบคอนโด
1. วัสดุอุปกรณ์ในการเลี้ยงกบคอนโด
1.1 ยางรถ (ขนาดของยางรถต่อจำนวนกบที่เลี้ยง รถแทรกเตอร์ เลี้ยงได้100 ตัว,ขนาด รถ 10 ล้อ เลี้ยงได้ 50 ตัว,ขนาด 6 ล้อ
เลี้ยงได้ 30 ตัว,ขนาด 4 ล้อเลี้ยงได้ 20 ตัว)
1.2. ทรายหยาบ
1.3. ตะแกรง
1.4. กบพันธุ์
1.5. ปูนขาว
1.6. อาหารปลาดุก
1.7.
ถาดวางอาหาร
2.วิธีการเลี้ยงกบคอนโด
2.1. เริ่มต้นด้วยการหาพื้นที่เลี้ยงกบ(แสงแดดส่องรำไร)
2.2. ใช้ทรายหยาบถมหนาประมาณ 6 นิ้ว
2.3. เสร็จแล้วให้ใช้ตะแกรงรองพื้น
2.5. วางคอนโด (ยางรถ 3 เส้น ซ้อนทับขั้นไป)
2.6. ปล่อยกบลงในยางรถ
2.7. นำตะแกรงปิดปากคอนโดของกบ ด้านบน เพื่อป้องกันกบกระโดดออกไป
3.อาหารกบและการให้อาหาร
3.1. ใช้อาหารปลาดุกเม็ดใหญ่ ให้กบกินทุกเช้า เย็น
โดยวางอาหารไว้ในถาดด้านล่างคอนโด
3.2. อาหารเสริมเป็นผักบุ้งหั่นฝอย ให้กิน ทุก 2
วัน/ครั้ง
3.3. ใส่น้ำ 2 คอนโด (ชั้นที่ 1 และ
2) ถ่ายน้ำทุก 3 วัน
3.4. ล้างหินและอุปกรณ์ให้สะอาด ล้างด้วยจุลินทรีย์ผลไม้
3.5. ใช้ไฟส่อง ล่อแมลงให้กบกิน เป็นอาหารเสริม
3.6. เลี้ยงไปประมาณ 20 วัน ให้แยกขนาดกบเล็ก-ใหญ่
4.พันธุ์กบที่นำมาเลี้ยง
กบที่ควรนำมาเลี้ยงเป็นกบคอนโด เป็นกบพันธุ์
โดยสามารถติดต่อซื้อได้ที่เกษตรกร โรงเรียนบ้านกาศประชานุเคราะห์ หรืออาจารย์นิคม
จิตมณีธรรม เบอร์โทร.0-5462-0510หรือ 089-7572766
หรือหน่วยงานเกษตรจังหวัดของตนเอง
5.ระยะเวลาการเลี้ยงกบ
จะอยู่ที่ประมาณ 60 วันหรือมากน้อยขึ้นอยู่กับการดูแลของเกษตรเอง
โดยทั่วไปแล้วการเลี้ยงกบจะใช้เวลา 2 เดือนเท่านั้น
6.ข้อดีและข้อเสียของการเลี้ยงกบคอนโด
ข้อดี
1. เลี้ยงในบริเวณบ้าน หรือมีพื้นที่จำกัดได้ดี
และดีกว่าการเลี้ยงแบบใส่ขวดพลาสติก
2.
ลงทุนต่ำ กว่าเลี้ยงในบ่อปูน
3.
ให้อาหารกบได้ง่ายและทั่วถึง ไม่เปลืองอาหาร
4.
ควบคุมโรคได้ง่าย ถ่ายน้ำสะดวก และใช้น้ำน้อยกว่า
5.
เหมาะกับผู้เริ่มทดลองเลี้ยงเพื่อศึกษา ไม่หวังผลกำไร
ข้อเสีย
1.
ยากต่อการสังเกตและดูแล หากเลี้ยงในปริมาณมากๆ
2.
ไม่เหมาะกับการเลี้ยงจริงจังเชิงพาณิชย์ ที่ต้องมีปริมาณผลผลิตต่อเดือนสูง
บทที่ 3
วัสดุ
อุปกรณ์และวิธีการเลี้ยง
วัสดุอุปกรณ์
1. ยางรถ
(ขนาด รถแทรกเตอร์ เลี้ยงได้100 ตัว,ขนาด รถ 10 ล้อ เลี้ยงได้ 50
ตัว, ขนาด 6 ล้อ
เลี้ยงได้ 30 ตัว,ขนาด 4 ล้อ เลี้ยงได้ 20 ต1.2 ทรายหยาบ
2. ตะแกรง
5.อาหารกบแท้ หรือปลาดุก
6.ถาดวางอาหาร
6.ถาดวางอาหาร
7.ทรายหยาบ
ขั้นตอนการดำเนินงาน
1.
คิดหัวข้อโครงเรื่องเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
2.
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับ เรื่องที่สนใจว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใดและต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจากเว็บไซต์ต่างๆและบันทึกเก็บข้อมูลที่ได้ศึกษาและค้นคว้าจากเว็บไซต์หรือหนังสือต่างๆไว้เพื่อจัดทำเนื้อหาต่อไป
3.
ศึกษาเรื่องกบจากเว็บไซต์หรือหนังสือต่างๆที่นำเสนอเทคนิควิธีการทำน้ำยาเช็ดกระจก
4.
จัดทำโครงงานเรื่องกบ
5.
นำร่างโครงงานเรื่องกบส่งให้ครูที่ปรึกษาโครงงานดูว่าใช่ได้หรือไม่
6.
ดูการเจริญเติบโตของกบ
7.
ปฏิบัติการจัดทำโครงงานเรื่องกบให้สวยงามน่าดู
8.
จัดทำเอกสารรายงานโครงงานเรื่องกบแล้วนำมานำเสนอ
9.
จัดทำรูปเล่ม ชิ้นงาน
10.จัดทำคู่มือการใช้งานโครงงานเรื่องกบ
11.ประเมินผล
12.นำเสนอโดยบล็อกเกอร์
13.วิธีดำเนินการเรื่อง
ขั้นตอนดำเนินการ
1
ปรับพื้นที่ให้สม่ำเสมอ
3 นำท่อT VC มาต่อกันด้วยใช้ข่อต่อสามทางมาต่อ เพื่อระบ่ายน้ำ ไม่ต้องทากาว
ต่อจนถึงคอนโดสุดท้าย ให้ใช่ข่อต่อข่องอ
8
นำยางรถยนต์มาวางเพิ่มอีกสองเส้น
9 นำน้ำจากแม่น้ำลำคลองหรือนำจากบ่อที่ขุดขึ้นเองก็ได้
แล้วนำลูกกบนาอายุประมาณ 30-60 วันจำนวนไม่เกิน 100 ตัว ต่อคอนโด ใส่ลงในเข้าคอนโด
10 ขั้นตอนสุดท้ายปิดด้วนตะแกรงหรือ ฝาพัดลมเก่า
บทที่4
ผลการเลี้ยงกบ
ตอนที่ 1
ผลการเลี้ยงกบแบบกบคอนโด ผลเป็นดังนี้
ข้อดี
1. เลี้ยงในบริเวณบ้าน หรือมีพื้นที่จำกัดได้ดี และดีกว่าการเลี้ยงแบบใส่ขวดพลาสติก
2. ลงทุนต่ำ กว่าเลี้ยงในบ่อปูน
3. ให้อาหารกบได้ง่ายและทั่วถึง ไม่เปลืองอาหาร
4. ควบคุมโรคได้ง่าย ถ่ายน้ำสะดวก และใช้น้ำน้อยกว่า
5. เหมาะกับผู้เริ่มทดลองเลี้ยงเพื่อศึกษา ไม่หวังผลกำไร
1. เลี้ยงในบริเวณบ้าน หรือมีพื้นที่จำกัดได้ดี และดีกว่าการเลี้ยงแบบใส่ขวดพลาสติก
2. ลงทุนต่ำ กว่าเลี้ยงในบ่อปูน
3. ให้อาหารกบได้ง่ายและทั่วถึง ไม่เปลืองอาหาร
4. ควบคุมโรคได้ง่าย ถ่ายน้ำสะดวก และใช้น้ำน้อยกว่า
5. เหมาะกับผู้เริ่มทดลองเลี้ยงเพื่อศึกษา ไม่หวังผลกำไร
ข้อเสีย
1. ยากต่อการสังเกตและดูแล หากเลี้ยงในปริมาณมากๆ
2. ไม่เหมาะกับการเลี้ยงจริงจังเชิงพาณิชย์ ที่ต้องมีปริมาณผลผลิตต่อเดือนสูง
1. ยากต่อการสังเกตและดูแล หากเลี้ยงในปริมาณมากๆ
2. ไม่เหมาะกับการเลี้ยงจริงจังเชิงพาณิชย์ ที่ต้องมีปริมาณผลผลิตต่อเดือนสูง
ตอนที่ 2
ประประโยชน์ที่รับในการเลี้ยงกบแบบกบคอนโด
รายได้ในการเลี้ยง
ชนิดกบ
|
ระยะเวลาใน
การเลี้ยง
|
ต้นทุนการ
เลี้ยงต่อตัว
|
ราคาทีขายได้
ต่อ 1ตัว
|
กบนา
|
4เดือน
|
5.84 บาท
|
13-15 บาท
|
กบบ้าน
|
12เดือน
|
10.00บาท
|
19-20 บาท
|
การเลี้ยงกบคอนโดสามารถแก้ปัญหาได้หลายอย่างในสภาวะสถานการณ์ในปัจจุบันในการจัดการทรัพยากรในฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ในสภาพการขาดแคลนแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
ดินเค็มและดินขาดความอุดมสมบูรณ์ขาดแคลนเงินทุนตลอดจนประสบกับสภาวะหนี้สินการเลี้ยงกบคอนโดเป็นการเลี้ยงด้วยภูมิปัญญาและพึ่งพาตนเองเป็นหลักกล่าวคือมีการใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่นในการลดต้นทุนเช่นยางรถยนต์เก่าขวดน้ำพลาสติกฝาครอบพัดลมเก่าและมีการเพาะพันธุ์ลูกกบเองตลอดจนการให้อาหารเสริมจากธรรมชาติ
เช่น ปลวก แมลง จิ้งหรีด เป็นต้น เป็นการลดต้นทุนเพิ่มรายได้สามารถพึ่งพาตนเองได้ตาแนวทางพระราชดำริ
“เศรษฐกิจพอเพียง” ตลอดจนเป็นแนวทางเลือกแก่เกษตรกร
และผู้สนใจทั่วไป
บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการเลี้ยงกบแบบคอนโด
จากผลการเลี้ยงกบตอนที่ 1
การเลี้ยงกบแบบกบคอนโดนั้นมีทั้งข้อดีข้อเสียต่างกันไป เช่น
ข้อดี
1. เลี้ยงในบริเวณบ้าน หรือมีพื้นที่จำกัดได้ดี
และดีกว่าการเลี้ยงแบบใส่ขวดพลาสติก
2.
ลงทุนต่ำ กว่าเลี้ยงในบ่อปูน
ข้อเสีย
1. ยากต่อการสังเกตและดูแล
หากเลี้ยงในปริมาณมากๆ
2.
ไม่เหมาะกับการเลี้ยงจริงจังเชิงพาณิชย์ ที่ต้องมีปริมาณผลผลิตต่อเดือนสูง
สรุปได้ว่า การเลี้ยงกบแบบกบคอนโดเป็นการเลี้ยงกบอีกหนึ่งรูปแบบในการเลี้ยงกบของเกษตรกรด้วยการนำของที่เหลือใช้แล้วมา
ทำเป็นวัสดุอุปกรณ์ในการ มีทั้งข้อดี ข้อเสีย
ข้อดีของการเลี้ยงกบแบบกบคอนโดที่จะเห็นชัดที่สุดคือ
เหมาะกับผู้เริ่มทดลองเลี้ยงเพื่อศึกษา ไม่หวังผลกำไร
ผลการทดลองตอนที่ 2
การเลี้ยงกบแบบกบคอนโด
สามารถนำออกไปจำหน่ายยังท้องตลาดได้ ราคาของกบต่อตัว อยู่ที่ ประมาณ
5- 10 บาทต่อ
บรรณานุกรม
วงจรชีวิตของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ(กบ)
( ไม่ปรากฏวันที่เผยแพร่ )
วันที่สืบค้น 14 กันยายน พ.ศ. 2558
สายพันธุ์กบที่นิยมเลี้ยง ( ไม่ปรากฏวันที่เผยแพร่ ) วันที่สืบค้น 14 กันยายน พ.ศ. 2558
จาก:
https://sites.google.com/.../say-phanthu-kb-thi-niym-le
ภาพผนวก